‘ยุทธศาสตร การวิจัยและนวัตกรรม 20 ป (พ.ศ.2580)’2561- ของประเทศ ถือเป นเครื่องมือสำคัญในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร ชาติและประเทศไทย 4.0 ในการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ องค ความรู ต างๆ ทั้ง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสร างสรค จึงถูกนำมาใช ภายใต งานวิจัย ที่มีการบูรณาการเชื่อมโยงกันเพื่ นำไปสู การเสริมสร างสังคม ประเด็นป ญหาสำคัญที่ต องเร งแก ไขที่ทำให ประเทศไทยไม สามารถพัฒนางานวิจัย กลไกการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให เจริญก าวหน ามากนัก ดังนั้น การวิจัยจึงเป นพั สำคัญประการหนึ่งของมหาวิทยาลัย เพื่อเป นการส งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการงานวิจัย งานสร างสรรค ดำเนินการงานวิทยานิพนธ และงานการค นคว าอิสระของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาให มีประสิทธิภาพและมีคุณภา อีกทั้งยังเป นการส งเสริมและสนับสนุนการสร างความร วมมือของคณาจารย นักวิจัย และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษ ในการบูรณาการงานวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน และพันธกิจอื่น ๆ เช น การบริการวิชาการ หรือ การทำนุบำรุ และวัฒนธรรมตลอดจนเพื่อเป นการส งเสริมและสนับสนุนการนำผลงานวิจัยไปใช ประโยชน ได ตรงตามความต องการข ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซึ่งจะเป นการตอบสนองต อยุทธศาสตร ชาติอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ ยังเป นการส สนับสนุนให มีเวทีการนำเสนอผลงานและการเผยแพร ผลงานการวิจัยและงานสร างสรรค และผลงานวิทยานิพนธ และง การค นคว าอิสระของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อออกสู ในระดับชาติ ได อย างกว างขวางยิ่งขึ้น โดยได รับความร วม หน วยงานและสถานศึกษาต างๆ ที่เข าร วมในการเสริมสร างความรู นำไปสู ความได เปรียบในการแข งขัน ความเข สังคมภายใต สถานการณ การระบาดของโรคไวรัส โคโรน า -19)(โควิดที่ทำให เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก แต การพัฒนา ประเทศยังคงต องเดินหน าต อไป งานวิจัยจึงเป นการ “สร างมูลค า” ที่จะนำไปสู การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ใ กับยุทธศาสตร ชาติ
จากความสำคัญข างต นเพื่อเป นการแลกเปลี่ยนประสบการณ และสร างความร วมมือระหว างหน วยงานภาคร และเอกชน อาทิ สำนักงานการวิจัยแห งชาติ มหาวิทยาลัยเอเซียอาคเนย มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร สถาบันเทคโน แห งสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยเนชั่น วิทยาลัยนอร ทเทิร น และเครือข ายวิจัยประชาชื่นมหาวิทยาลัยเวสเทิร นจึงได จัดให มี การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติขึ้น ป ละ 2 ครั้ง โดยครั้งนี้เป นกาครบูรณาการั้งที่19 ในหัวข อ งานวิจัย ภายใต การเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่อสังคมที่ยั่งยืน”
1. เพื่อพัฒนาคุณภาพให้คณาจารย์ นักวิชาการ บุคลากร ตลอดจนบุคคลทั่วไปให้ความสำคัญของงานวิจัย และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ตลอดจนข้อคิดเห็นงานวิจัย เพื่อการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย อันจะทำให้เกิดงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และการวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ต่อชุมชน สังคมและประเทศต่อไป
2. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปแบบของเอกสารเชิงวิชาการ และสร้างเครือข่ายในการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมงานวิจัยให้เกิดขึ้นระหว่างนักวิจัย นักวิชาการ สถาบันการศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน
3. เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการวิจัยและเป็นเวทีวิชาการในการเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนผลงาน และข้อมูลการวิจัยในกลุ่มสาขาต่างๆ ทั้งด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในระดับประเทศ
1. กลุ่มวิทยาศาสตร์
1.1 ด้านวิศวกรรมศาสตร์
1.2 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.3 ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
2. กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2.1 ด้านการศึกษา
2.2 ด้านบริหารธุรกิจ
2.3 ด้านนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์
1. การบรรยายพิเศษโดยวิทยากรกิตติมศักดิ์ (Keynote Speaker )
2. การนำเสนอบทความวิจัยภาคบรรยาย (Oral Presentation )
3. การนำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation )
วันเสาร์ที่ 27 และวันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายนพ.ศ. 2564 นำเสนอผลงานวิจัยทั้งภาคบรรยายและโปสเตอร์
1. อาจารย์ นักวิจัย นิสิตนักศึกษา ได้เผยแพร่งานวิจัย ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการ งานวิจัย ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่อสังคมที่ยั่งยืน”
2. คณาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยมีโอกาสนำเสนอผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาอื่นๆ
3. นิสิตและนักศึกษามีโอกาสนำเสนอผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในสาขาอื่นๆ
4. เป็นการสร้างการจัดการเรียนรู้ ให้กับนิสิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่จะนำไปใช้ปรับระบบ การศึกษาต่อไป
5. มีเครือขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและนักวิจัยระดับชาติ
ประเภทการเข้าร่วม | อัตราค่าลงทะเบียน |
---|---|
1. เข้าร่วมประชุม รับฟังการบรรยายพิเศษโดยไม่นำเสนอผลงานทางวิชาการ | บุคคลภายนอก 1,000 บาท (รวมค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ) โดยลงทะเบียนชำระเงิน ตั้งแต่ วัน ที่ 1 กันยายน – วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2564 |
2. เข้าร่วมประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ | -บุคคลภายนอก 3,200 บาท / เรื่อง(รวมค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ) ทั้งนี้ต้องชำระเงิน/ส่งบทความ ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน – วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2564 |
3. เข้าร่วมประชุมและนำเสนอบทความวิจัยแบบปากเปล่า | -นิสิตปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 3,200 บาท / เรื่อง (รวมค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ) ทั้งนี้ต้องชำระเงิน/ส่งบทความ ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน – วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2564 |
4. เข้าร่วมประชุมและนำเสนอบทความวิจัยแบบโปสเตอร์ (ที่รวมค่าลงทะเบียนและจัดทำโปสเตอร์) | - นิสติปริญญาโท มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 3,200 บาท / เรื่อง - ค่าดำเนินการจัดทำและออกแบบโปสเตอร์พร้อมขาตั้ง 2500/เรื่อง (รวมค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ) ทั้งนี้ต้องชำระเงิน/ส่งบทความ ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน – วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2564 |
1.เมื่อมีการชำระเงินค่าลงทะเบียนแล้ว ทางผู้จัดงานประชุมวิชาการจะไม่คืนเงินค่าลงทะเบียนไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
2. อัตราค่าลงทะเบียนนี้รวมเอกสารประกอบการประชุม อาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ
3. หากต้องการใบเสร็จเพื่อเบิกค่าลงทะเบียนของหน่วยงาน กรุณานำใบเสร็จที่ชำระของธนาคาร (ตัวจริง) นำมาติดต่อได้ที่ การเงิน ชั้น 1 ณ อาคารคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ในวันและเวลาดังกล่าว
4. อัตราค่าลงทะเบียนสำหรับการเข้าร่วมนำเสนอผลงานต่อ 1 ท่านเท่านั้น หากผู้เข้าร่วมนำเสนอประสงค์ให้บุคคลอื่นเข้าร่วมฟังการบรรยายประสงค์สามารถลงทะเบียนในลักษณะของการเข้าร่วมประชุม อัตราค่าลงทะเบียน 1,000 บาท
5. เกียรติบัตรในการนำเสนอผลงานที่มอบให้ จะปรากฏชื่อของผู้ลงทะเบียนนำเสนอผลงานคนแรกเท่านั้น ส่วนรายชื่อผู้ร่วมในบทความจะปรากฏในฉบับรวมเล่มการประชุมวิชาการฯ
ผู้สมัครต้องทำการลงทะเบียนและแนบไฟล์เอกสารการชำระเงินค่าลงทะเบียนให้เรียบร้อยพร้อมแนบไฟล์บทความฉบับเต็ม upload ทั้งไฟล์ word และ pdf ให้เรียบร้อย จากนั้นให้ผู้สมัครเข้าไปกรอกข้อมูลเพื่อลงทะเบียนรับรหัสประจำตัวที่ http://www.western.ac.th/index.php/register โดยผู้สมัครต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนแล้วกดยืนยันเพื่อรับรหัสประจำตัว จากนั้นตรวจสอบข้อมูลและ กดยืนยันอีกครั้ง จึงจะถือว่าการสมัครเสร็จสมบูรณ์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร.0-2563-5252 ต่อ 5017
1. บทความวิจัยที่จะนำเสนอในการประชุมจะต้องเป็นผลงานที่ไม่เคยตีพิมพ์หรือเผยแพร่มาก่อน
2. การนำเสนอผลงาน ให้นำเสนอแบบบรรยาย (Oral Presentation) ในที่ประชุม โดยใช้เวลาในการนำเสนอ ไม่เกิน 15 นาที ซักถามจากวิทยากร 5 นาที (รวมไม่เกิน 20 นาที)
3. บทความวิจัยฉบับเต็มที่ผู้นำเสนอผลงานได้ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผูกทรงคุณวุฒิแล้วจะได้ ตีพิมพ์ full paper เผยแพร่ ใน Proceeding ของการประชุม
ขั้นตอนการดำเนินงาน | ระยะเวลา |
---|---|
1. กำหนดการลงทะเบียน ชำระเงินและส่งบทความ | วันที่1 กันยายน – วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2564 |
2. กำหนดการส่งบทความฉบับแก้ไข | วันที่10 กันยายน – วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
3. ประกาศรายชื่อ (สำหรับผู้ลงทะเบียนชำระเงินและส่งบทความ) | วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
4. นำเสนอบทความ (ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์) | วันที่27 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
ขั้นตอนการดำเนินงาน | ระยะเวลา |
---|---|
1. กำหนดการลงทะเบียน และชำระเงินและส่งบทความ | วันที่ 20 กุมภาพันธ์ - วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 |
2. กำหนดการส่งบทความ/ฉบับแก้ไข | วันที่ 25 กุมภาพันธ์ - 10 มิถุนายน 2564 |
3. ประกาศรายชื่อ | วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2564 |
4. นำเสนอบทความ | วันที่ 3 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 |
ข้อมูลการเดินทางมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตวัชรพลเลขที่ 4 หมู่ 11 ถนนหทัยราษฎร์ ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150
ส่วนงานวิจัยและบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตวัชรพล เลขที่ 4 ม. 11 ต. ลาดสวาย อ. ลำลูกกา จ. ปทุมธานี 12150โทร 0-2563-5252 ต่อ 5017E-mail address : wturesearch.ac.th@gmail.com