เพื่อให้การจัดการศึกษาสําหรับระดับบัณฑิตศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิ์ภาพ อาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา 35(2) แห่งพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์นในการประชุมครั้งที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 จึงมีมติให้ตรา ข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ว่าด้วย ระบบการศึกษาสําหรับระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561"
ข้อ 2 ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ภายใต้ช้อบังคับนี้ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และคําสั่งต่างๆ ที่ว่าด้วย ระบบการศึกษาสําหรับ ระดับปริญญาตรี ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในข้อบังคับนี้หวียซึ่งขัดแย้งกับข้อบังคับ ให้ใช้ข้อบังคับนี้แทน
ข้อ 4 ในข้อบังต้นนี้
“สภามหาวิทยาสัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
“มหาวิทยาลัย หมายถึง มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
"อธิการบดี" หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
"คณบดี" หมายถึง คณบดีของคณะวิชาที่นิสิตศึกษาในมหาวิทยาลัย
"นิสิต" หมายถึง นิสิตมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นระด์บปริญญาตรีและให้หมายรวมถึง นิสิตนักศึกษาจากสถาบันอื่นที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาของมหาวิทยาลัย เวสเทิร์น
"อาจารย์" หมายถึง ผู้ที่ดํารงตําแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย ปฏิบัติงานเต็มเวลา
“อาจารย์ประจําหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจําที่มีคุณสมบัติตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและต้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าวของมหาวิทยาลัย
“อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจําหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่มี ภาระหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่วางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตาม ประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร
“อาจารย์พิเศษ” หมายถึง ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําของมหาวิทยาลัย
"อาจารย์ที่ปรษา” หมายถึง อาจารย์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาแก่นิสิต
ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และให้มีอํานาจอกกระเบียบ คําสั่ง หรือประกาศ เพื่อ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้ ในกรณีที่จะต้องมีการดําเนินการใดๆ ที่มิได้กําหนดไว้ในข้อบังคับนี้ หรือในกรเนีที่มีความจําเป็นอย่างยิ่ง ต้องผ่อนผันข้อกาหนดตามข้อบังคับนี้เป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย ให้อธิการบดีมีอํานาจตีความ วินิจนัย สั่งการและปฏิบัติตามที่เห็นสมควร และให้ถือเป็นที่สุด
ข้อ 6 ระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยมี 2 รูปแบบ คือ
6.1 แบบในชั้นเรียน
6.2 แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อ ซึ่งเป็นการจัดการศึกษา โดยใช้การสอนทางไกลผ่าน ระบบการสื่อสาร หรือเตรีย เยสเวสนเทศงๆ ที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนด
7.2 ระบบหน่วยกิตและการคิดหน่วยกิต
หน่วยกิต หมายถึง หน่วยที่ใช้แสดงปริมาณการศึกษา ซึ่งมีหลักเกณฑ์ดังนี้
7.2.1 รายวิชาทฤษฎี ที่ใช้การบรรยายหรือการอภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
7.2.2 รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้การฝึกหรือทดลองในห้องปฏิบัติการหรือห้องทดลอง ไม่น้อย กว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค
7.2.3 รายวิชาฝึกงาน ฝึกภาคสนาม ฝึกปฏิบัติในแหล่งฝึกปฏิบัติ ฝึกงานอาชีพ หรือสหกิจ ศึกษาไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค
7.2.4 รายวิชาที่ใช้การทําโครงงาน หรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายนั้นๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยตระบน ทวกาศ
7.2.5 รายวิชาสารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติ หรือไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยตระบบทวิภาค
7.2.6 รายวิชาวิทยานิพนธ์ และรายวิชาดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติ หรือไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
7.3 กรณีที่มีการจัดการศึกษาในลักษณะเป็นชุดวิชา (Module) หรือที่ละรายวิชา หรือในลักษณะอื่น กําหนดให้มีระยะเวลาการศึกษามีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับการศึกษาภาคการศึกษาปกติในระบบทวิภาค
7.4 หน่วยกิตเรียน หมายถึง จํานวนหน่วยกิตที่นิสิตลงทะเบียนเรียน
7.5 หน่วยกิตคํานวณรายภาค หมายถึง จํานวนหน่วยกิตทั้งหมดของทุกรายวิชาที่นิสิตได้รับเกรด A A-, B6, B, B, C+, C, C, D, D หรือ F ในภาคการศึกษานั้น
7.6 หน่วยกิตคํานวณสะสม หมายถึง จํานวนหน่วยกิตทั้งหมดของทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษาที่ นิสิตได้รับเกรด A, A-, B+, B, B, C+, C, C, D, D หรือ F
7.7 หน่วยกิตที่สอบได้ หมายถึง จํานวนหน่วยกิตรายวิชาที่นิสิตสอบได้รับ A, A-, B6, B, B, C, c, F S, E หรือ G ในกรณีที่นิสิตสอบได้รายวิชาใดมากกว่าหนึ่งครั้ง หรือสอบได้รายวิชาใดที่ระบุไว้ว่าเทียบเท่ารายวิชา ที่สอบได้มาแล้วให้นับจํานวนหน่วยกิตสอบได้เพียงครั้งเดียว
7.8 กรณีที่ลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเรียนเน้นในรายวิชาใด เมื่อได้รับเกรดหรือค่าระดับคะแนนใหม่ ให้ นําเกรดหรือค่าระดับคะแนนใหม่มาคํานวณในรายวิชานั้น โดยไม่นําเกรดหรือค่าระดับคะแนนเดิมมาคํานวณในค่า ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA)
ข้อ 8 จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรและระยะเวลาในการศึกษา
8.1 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมตลอด หลักสูตรไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต และนิสิตต้องลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เนสเบิษไม่เกิน 6 กกตการศึกษาปกติหรีต 5 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียน ครั้งแรกในหลักสูตรนี้
8.2 ระดับปริญญาโท ให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และนิสิต ต้องลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 10 ภาคการศึกษาปกติหรือ 5 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้
8.3 ระดับปริญญาเอก แบ่งเป็น
แบบ 1.1 และแบบ 2.1 สําหรับผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ให้มีจํานวนหน่วย กิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยนิสิตต้องลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาย การศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 12 ภาคการศึกษาปกติหรือ 6 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วัน ลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้
แบบ 1.2 และ 2.2 สําหรับผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ให้มีจํานวนหน่วย กิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต โดยนิสิตต้องลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาค การศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 16 ภาคการศึกษาปกติหรือ 8 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วัน ลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้
ข้อ 9 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้
9.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ให้มีความชํานาญในสาขาวิชาเฉพาะ เพื่อให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น โดยเป็นหลักสูตรที่ มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเองสําหรับผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
9.2 หลักสูตรปริญญาโท เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพที่มีความรู้ ความสามารถระดับสูงในสาขาวิชาต่างๆ โดยกระบวนการวิจัยเพื่อให้สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างอิสระ มี ความสามารถในการสร้างสรรค์และจรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ของตนกับศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่อง ในระดับสูงกว่าระดับปริญญาตรีหรือประกาศนียบัตรบัณฑิต มีคุณธรรมจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนางานและ สังคม
9.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นพัฒนานักวิชาการและนัก วิชาชีพให้มีความชํานาญในสาขาวิชาเฉพาะ เพื่อให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น โดยเป็น หลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเองสําหรับผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
9.4 หลักสูตรปริญญาเอก เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ที่มีความรู้ ความสามารถระดับสูงในสาขาวิชาต่างๆ โดยกระบวนการวิจัยเพื่อให้สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างอิสระ มี ความสามารถในการสร้างสรรค์และจรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ของตนกับ ศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่อง ในระดับสูงกว่าระดับปริญญาโทหรือประกาศนียบัตรบัณชิตชั้นสูง มีคุณธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เพื่อให้มีความสามารถในการค้นคว้าวิจัยเพื่อสรรค์สร้างองค์ความรู้ใหม่หรือ นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน สังคม และประเทศ
ข้อ 10 โครงสร้างหลักสูตร
10.1 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมตลอด หลับพูหวไม่น้อยกว่า 24 ที่น่วยกิต
10.2 ระดับปริญญาโท ให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยแบ่ง การศึกษาเป็น 2 แผน คือ
แผน ก เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธ์ ดังนี้
แบบ ก 1 ทําเฉพาะวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกําหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มเติมโดยไม่นับ หน่วยกิตแต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และศึกษางาน รายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทําวิทยานิพนธ์ แต่ต้องมีการ ทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิตและไม่เกิน 6 หน่วยกิต
10.3 ระดับปริญญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น 2 แบบ โดยเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและนัก วิชาชีพชั้นสูง คือ
แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยการทําตุษฎีนิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกําหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มเติมโดยไม่นับ หน่วยกิตแต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ดังนี้
แบบ 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จปริญญาโทจะต้องทําดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
แบบ 1.2 ผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรีจะต้องทําดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต
ทั้งนี้ ดุษฎีนิพนธ์ตามแบบ 1.1 และแบบ 1.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน
แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทําดุษฎีนิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิด ความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้
แบบ 2.1 ผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จปริญญาโทจะต้องทําดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิตและศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
แบบ 2.2 ผู้เข้าศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรีจะต้องทําดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิตและศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
ทั้งนี้ ดุษฎีนิพนธ์ตามแบบ 2.1 และแบบ 2.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน
ข้อ 11 จํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์
11.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต
11.1.1 อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณา แต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็น ผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิช เชีพนั้น"
11.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมีผลงานทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณา แต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็น ผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.1.3 อาจารย์ผู้สอน อาจเป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ โดยมีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี ประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการ เผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
กรณีที่เป็นอาจารย์พิเศษต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีประสบการณ์การทํางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี และมีชั่วโมงสอนได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของ จํานวนชั่วโมงสอนในรายวิชานั้นๆ
สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.2 ปริญญาโท
11.2.1 อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณา แต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็น ผลงานวิจัยสําหรับหลักสูตรปริญญาโททางวิชาชีพ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติเป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีจํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมีผลงานทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณา แต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็น ผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรปริญญาโททางวิชาชีพ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.2.3 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ
(1) อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ต้องป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาที่ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โทยอย่างนี้อย 1 รายการผู้จงเป็นผลงานวิจัย
(2) อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ต้องป็นอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาที่เป็น อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
กรณีที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล ที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กันกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง
กรณีที่ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไม่มีคุณวุฒิหรือผลงานทางวิชาการตามที่กําหนด ผู้ทรงคุณวุฒิต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กันกับหัวข้อ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และเสนอให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อรับทราบต่อไป
11.2.4 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระปากเปล่า ขั้นสุดท้าย จะต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจําหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอนต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือ การศึกษาค้นคว้าอิสระหลัก โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระต้องมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้
(1) กรณีที่เป็นอาจารย์ประจําหลักสูตร ต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือขั้นต่ําระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้องได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
(2) กรณีที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับใน ระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง
กรณีที่ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไม่มีวุฒิการศึกษาและผลงานทางวิชาการตามที่ กําหนด ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์ กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และ เสนอให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อรับทราบต่อไป
11.2.5 อาจารย์ผู้สอน เป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ โดยมีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าระดับ ปริญญาโทหรือเทียบเท่าในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน มีประสบการณ์ ด้านการสอน มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้อง ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องเงไชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมีอาจารย์ประจํา เป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สําหรับหลักสูตรปริญญาโททางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตาม มาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.3 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
11.3.1 อาจารย์ประจําหลักสูตร ต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ํา ระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้องได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดใน การพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.3.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับ การเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องใน รอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
- สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.3.3 อาจารย์ผู้สอน เป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ โดยมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชา ที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน มีประสบการณ์ด้านการสอน มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้องได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการ พิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง 1 . กรณีอาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า มีประสบการณ์การทํางานที่ เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมี อาจารย์ประจําเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.4 ปริญญาเอก
11.4.1 อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษา เพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทาง วิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรปริญญาเอกทางวิชาชีพ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติเป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.4.2 ยขรวย์ผู้รับผิดีนียนหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีคณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล ดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
สําหรับหลักสูตรปริญญาเอกทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ
11.4.3 อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนินพธ์
(1) อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ต้องป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาที่ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่องในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
(2) อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ต้องป็นอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาที่เป็น อาจารย์ที่ปรึกษาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่ง ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 เรื่อง ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
กรณีที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา ซึ่งได้รับการเผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล ที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กันกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้า อิสระ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
กรณีที่ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไม่มีคุณวุฒิหรือผลงานทางวิชาการตามที่กําหนด ผู้ทรงคุณวุฒิต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงมากเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กันกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยสภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อรับทราบต่อไป
11.4.4 อาจารย์สอบคุษฎีนิพนธ์ปากเปล่าขั้นสุดท้าย จะต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจํา หลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้องเป็น ผู้ทรงคุณวุโรภายนอก โดยอาจารย์ผู้สอบดุษฎีนิพนธ์ ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(1) กรณีที่เป็นอาจารย์ประจําหลักสูตร ต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ และมีผลงาน ทางวิชาการที่ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้องได้รับการเผยแพร่ตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
(2) กรณีที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับ นานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
กรณีที่ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไม่มีวุฒิการศึกษาและผลงานทางวิชาการตามที่ กําหนด ผู้ทเวงคุณวุฒิร " เยนบางบงเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์ กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยสภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อรับทราบต่อไป
11.4.5 อาจารย์ผู้สอน เป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ โดยมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน มีประสบการณ์ด้านการสอน มีผลงานทางวิชาการที่ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และผลงานทางวิชาการนี้ต้องได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่ กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง กรณีที่รายวิชาสอนไม่ใช่รายวิชาในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมให้อาจารย์ผู้สอนที่มี คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหย่งทางวิชาการต่ํากว่ารองศาสตราจารย์ได้ ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมีอาจารย์ประจํา เป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อ 12 หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษา ค้นคว้าอิสระ
12.1 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
12.1.1 รับผิดชอบและควบคุมการทําดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาเต้นครับ อิสระของนิสิตให้สอดคล้องกับโครงร่างคุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระที่ได้รับการ อนุมัติ
12.1.2 เสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
12.1.3 ให้คําปรึกษาและชี้แนะเกี่ยวกับเนื้อหาทางทฤษฎี แนวคิด วิธีการวิจัยหรือการศึกษา การ เชียน การใช้ภาษา และรวมถึงการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทําดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษา ค้นคว้าอิสระของนิสิต
12.1.4 ติดตามการดําเนินงานให้เป็นไปตามแผนงานและรับผิดชอบประเมินผลการการทํา ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระของนิสิตจนเสร็จสมบูรณ์
12.1.5 ให้ความเห็นชอบในการขอสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษา ค้นคว้าอิสระของนิสิต
12.1.6 ร่วมเป็นกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ของนิสิต
12.1.7 หลังการสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ อาจารย์ที่ ปรึกษาหลักต้องดําเนินการให้นิสิตแก้ไขรายงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ พร้อมทั้งกํากับดูแลให้นิสิตจัดส่งรายงานและเอกสารอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัย กําหนดภายในระยะเวลาที่กําหนด และกํากับดูแลให้นิสิตจัดทําบทความทางวิชาเพื่อการเผยแพร่ผลงานหรือส่วนหนึ่ง ของผลงานดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระของนิสิต ตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานเพื่อขอสําเร็จการศึกษา
12.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
12.2.1 ร่วมรับผิดชอบและควบคุมการทําดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษา ค้นคว้าอิสระด้ยังนิสิตให้สบตกล้องกับโครงร่างคุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระที่ได้รับ การอนุมัติ
12.2.2 ร่วมให้คําปรึกษาและชี้แนะเกี่ยวกับเนื้อหาทางทฤษฎี แนวคิด วิธีการวิจัยหรือการศึกษา การเรียน การใช้ภาษา และรวมถึงการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทําดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือ การศึกษาค้นคว้าอิสระของนิสิต
12.2.3 ร่วมติดตามการดําเนินงานให้เป็นไปตามแผนงานและรับผิดชอบประเมินผลการการทํา ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระของนิสิตจนเสร็จสมบูรณ์
12.2.4 อาจร่วมเป็นกรรมการสอบคุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้า อิสระของนิสิต
ข้อ 13 ภาระงานที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
13.1 อาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หรือ วิทยานิพนธ์หลัก 1 คนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
จํานวนนิสิตที่เป็น วุฒิการศึกษา ตําแหน่งทางวิชาการ
- อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
(1) ปริญญาเอก อาจารย์
5 คน
(2) ปริญญาเอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 10 คน
(3) ปริญญาเอก ทุงศาสตราจารย์ 10 คน
(4) ปริญญาเอก ศาสตราจารย์
10 คน
(5) ปริญญาโท รองศาสตราจารย์ 10 คน
(6) ปริญญาเอก ศาสตราจารย์
10 คน
อนึ่ง หากอาจารย์ประจําที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดํารงตําแหน่ง หางวิชาการศาสตราจารย์มีความจําเป็นต้องเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์หลักเกินกว่าจํานวนที่กําหนด ให้เสนอต่อสภามหาวิทยาลัยพิจารณาเพื่ออนุมัติ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา และหาก จําเป็นต้องอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์หลักเกินกว่า 15 คนเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยพิจารณาให้ ความเห็นชอบ และเสนอต่อคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาต่อไป
13.2 อาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ หรือ การศึกษาค้นคว้าสระหลัก 1 คนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระของนิสิตระดับ บัณฑิตศึกษา ได้ไม่เกิน 15 คน
อนึ่ง หากอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักทั้งดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์และ สารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ให้คิดสัดส่วนจํานวนนิสิตที่ทําดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ 1 คน เทียบเท่าได้กับ จํานวนนิสิตที่ทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นควาอิสระ 3 คน แต่ทั้งนี้รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา
16.2.2 หลักเกณฑ์การขอเทียบโอนจากสถาบันอื่น คือ
(1) รายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่สามารถเทียบโอนได้ต้องเป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาใน หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หรือเทียบเท่าที่เคยศึกษาอยู่ใน สถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรองให้ การรับรอง
(2) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่บรรจุในหลักสูตรของคณะวิชาหรือสาขาวิชาที่ขอ เทียบโอน
(3) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสาม ในสี่ของ รายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโอน
(4) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่สอบได้ไม่ต่ํากว่าเกรด 8 หรือค่าระดับคะแนน 3.0 จากระบบ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเท่า หรือได้เกรด S หรือเป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
(5) จํานวนหน่วยกิตของรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโซนจะต้องรวมกันแล้ว ไม่เป็นหนึ่งในเมของในวันที่นายกิติววตลอดหลักสูตรที่รับโอน
(6) นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนและมีผลการศึกษาไม่น้อยกว่าสองในสามของ จํานวนหน่วยกิตรวมทั้งหมดของหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์สําเร็จการศึกษา
(7) การเทียบโอนในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง จะต้องไม่เกินชั้นปีและภาคการศึกษาที่ มีนิสิตศึกษาอยู่หรือได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย
(8) นิสิตที่ได้รับการเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิตจากสถาบันอื่น จะต้องใช้ เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษา หรือ 2 ภาคการศึกษาปกติ และลงทะเบียนเรียนรายวิชา วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หรือรายวิชาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือ รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
(9) ให้นิสิตยื่นคําร้องขอเทียบโอนรายวิชาและหรือหน่วยกิตต่อสํานักวิชาการให้เสร็จ สิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษานับจากการลงทะเบียนเรียนครั้งแรก ทั้งนี้ต้องเป็นผลการศึกษาที่ได้รับก่อนการขึ้นทะเบียน เป็นนิสิตมหาวิทยาลัย
ข้อ 14 การรับสมัครเข้าเป็นนิสิต
14.1 คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต
14.1.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรปริญญาโท
(1) ที่บังสําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าระดับปริญญาตรีจหรือเทียบเท่า
(2) คุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดในหลักสูตร
(3) เป็นผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนนิสิตในหลักสูตรที่จะศึกษา เว้นแต่บัณฑิตวิทยาลัยจะ พิจารณาอนุมัติเป็นเฉพาะราย
14.1.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
(1) ต้องสําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า
(2) คุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดในหลักสูตร
(3) เป็นผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนนิสิตในหลักสูตรที่จะศึกษา เว้นแต่บัณฑิตวิทยาลัยจะ พิจารณาอนุมัดเป็นเฉพาะราย
14.1.3หลักสูตรปริญญาเอก
(1) กรณีเข้าศึกษาในข้อ 10.3 แบบ 1.1 หรือแนบ 2.1 ต้องสําเร็จการศึกษา ไม่ต่ํากว่า ระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือ
(2) กรณีเข้าศึกษาในข้อ 10.3 แบบ 1.2 หรือแบบ 2.2 ต้องสําเร็จการศึกษา ไม่ กว่าระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก
(3) มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกําหนด หรือ
(4) คุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดในหลักสูตร
(5) เป็นผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนนิสิตในหลักสูตรที่จะศึกษา เว้นแต่บัณฑิตวิทยาลัยจะ พิจารณาอนุมัติเป็นเฉพาะราย
14.2 การคัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษาเป็นนิสิตให้เป็นตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
14.3 มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาอนุมัติให้รับนิสิตหรือนักศึกษาจากสาขาวิชาอื่นในมหาวิทยาลัยหรือ จากสถาบันอุดมศึกษาขึ้นๆ ลงทะเบียนศึกษารายวิชากับมหาวิทยาลัย เพื่อนําหน่วยกิตไปติดรวมกับหลักสูตรของ สถาบันการศึกษาที่ตนสังกัดได้โดยต้องชําระเงินตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
14.4 มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาอนุมัติให้บุคคลภายนอกที่ไม่ใช่นิสิตนักศึกษาสถาบันอื่นใด ลงทะเบียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิตได้ แต่บุคคลนั้นต้องมีคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาตาม ขก 14.1 และต้องปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบตลอดจนต้องชําระค่าหน่วยกิตตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
ข้อ 15 การขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต
15.1 ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตที่ผ่านการคัดเลือกแล้วจะมีสภาพเป็นนิสิตก็ต่อเมื่อได้ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต
15.2 ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตที่ผ่านการคัดเลือกแล้วจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต พร้อมทั้งชําระเงินตาม ระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัย
15.3 ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตที่ผ่านการคัดเลือกให้เข้าเป็นนิสิตในหลักสูตรสาขาวิชาใด ต้องขึ้นทะเบียน เป็นนิสิตสาขาวิชานั้น ทั้งนี้หากนิสิตจะโอนย้ายสาขาวิชาหรือเปลี่ยนวิชาเอกในภายหลังจะต้องได้รับการอนุมัติจาก มหาวิทยาลัย
ข้อ 16 การเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิต
16.1 การเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิตภายในมหาวิทยาลัย
16.1.1 คุณสมบัติของนิสิตที่ขอเทียบโอนภายในมหาวิทยาลัยได้ คือ นิสิตที่ต้องการย้าย สาขาเวีท นิสิตที่ได้รับบางที่ให้นมีการนิสิต และมีสิลงที่เป็นผู้สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาตื่นของมหาวิทยาลัย
16.1.2 หลักเกณฑ์การขอเทียบโอนภายในมหาวิทยาลัย คือ
(1) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาในหลักสูตรที่เคยศึกษาในมหาวิทยาลัย
(2) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่บรรจุในหลักสูตรหรือสาขาวิชาที่ขอเทียบโอน
(3) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในสี่ของ รายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโอน
(4) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่สอบได้ไม่ต่ํากว่าเกรด B หรือค่าระดับคะแนน 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเท่า หรือได้เกรด S
(5) จํานวนหน่วยกิตของรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโอนจะต้องรวมกันแล้ว ไม่เกินหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรที่รับโอน
(6) นิสิตที่ได้รับการเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิตต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หรือรายวิชาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือ รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
(7) ให้นิสิตเยื่นคําร้องขอเทียบโอนรายวิชาและหรือหน่วยกิตต่อสํานักวิชาการให้เสร็จ สิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษานับจากการลงทะเบียนเรียนครั้งแรก
16.2 การเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิตจากสถาบันอื่น
16.2.1 คุณสมบัติของผู้ที่ขอเทียบโอนจากสถาบันอื่น คือ
(1) ต้องมีคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาตามประกาศของมหาวิทยาลัย
(2) ต้องผ่านหลักเกณฑ์การคัดเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามประกาศของ มหาวิทยาลัย
(3) ต้องเป็นหรือเคยเป็นนิสิตของสถาบันการศึกษาระดับ อุดมศึกษาหรือเทียบเท่าใน หลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือหน่วยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรอง(4) ไม่เป็นผู้ถูกคัดชื่อออกหรือถูกไล่ออกหรือให้พ้นสภาพนิสิต ด้วยเหตุถูกลงโทษ ทางวินัยจากสถาบันอุดมศึกษาใดมาก่อน
16.2.2 หลักเกณฑ์การขอเทียบโอนจากสถาบันอื่น คือ
(1) รายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่สามารถเทียบโอนได้ต้องเป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาใน หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หรือเทียบเท่าที่เคยศึกษาอยู่ใน สถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรองให้ การรับรอง
(2) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่บรรจุในหลักสูตรของคณะวิชาหรือสาขาวิชาที่ขอ เทียบโอน
(3) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสาม ในสี่ของ รายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโอน
(4) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่สอบได้ไม่ต่ํากว่าเกรด 8 หรือค่าระดับคะแนน 3.0 จากระบบ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเท่า หรือได้เกรด S หรือเป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
(5) จํานวนหน่วยกิตของรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบโซนจะต้องรวมกันแล้ว ไม่เป็นหนึ่งในเมของในวันที่นายกิติววตลอดหลักสูตรที่รับโอน
(6) นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนและมีผลการศึกษาไม่น้อยกว่าสองในสามของ จํานวนหน่วยกิตรวมทั้งหมดของหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์สําเร็จการศึกษา
(7) การเทียบโอนในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง จะต้องไม่เกินชั้นปีและภาคการศึกษาที่ มีนิสิตศึกษาอยู่หรือได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย
(8) นิสิตที่ได้รับการเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิตจากสถาบันอื่น จะต้องใช้ เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษา หรือ 2 ภาคการศึกษาปกติ และลงทะเบียนเรียนรายวิชา วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หรือรายวิชาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือ รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
(9) ให้นิสิตยื่นคําร้องขอเทียบโอนรายวิชาและหรือหน่วยกิตต่อสํานักวิชาการให้เสร็จ สิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษานับจากการลงทะเบียนเรียนครั้งแรก ทั้งนี้ต้องเป็นผลการศึกษาที่ได้รับก่อนการขึ้นทะเบียน เป็นนิสิตมหาวิทยาลัย
16.3 การเทียบโอนความรู้และการให้หน่วยกิตจากการศึกษานอกระบบและหรือการศึกษาตาม อัธยาศัยเข้าสู่การศึกษาในระบบ
16.3.1 คุณสมบัติของผู้ที่ขอเทียบโอนความรู้และการให้หน่วยกิต ให้เป็นไปตามระเบียบและ ประกาศของมหาวิทยาลัย
16.3.2 หลักเกณฑ์การขอเทียบโอนความรู้และการให้หน่วยกิต คือ
(1) การเทียบโอนประสบการณ์และความรู้จะเทียบเป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาตาม หลักสูตรและระดับการศึกษาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยที่ผู้ขอเทียบโอนต้องการ
(2) วิธีการประเมินเพื่อการเทียบโอนประสบการณ์และความรู้ในแต่ละรายวิชาหรีย กลุ่มรายวิชา และเกณฑ์การตัดสินของการประเมินให้เป็นไปตามระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัย โดยความ เห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
(3) ผลการประเมินของรายวิชาหรือกลุ่มวิชาเที่จะเทียบโอนประสบการณ์และความรู้ ได้ต้องได้ผลการประเมินไม่ต่ํากว่าเกรด B หรือค่าระดับคะแนน 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า หรือ เกรด 5 จึงจะให้จํานวนหน่วยกิตของรายวิชาหรือกลุ่มวิชานั้น ทั้งนี้จะไม่มีการนําผลการประเมินมาคํานวณเป็นค่า ระดับคะแนนเฉลี่ย (Grade Point Average : GPA) และค่กระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA)
(4) การบันทึกผลการเรียนให้บันทึกตามวิธีการประเมินซึ่งเป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย
(5) การเทียบรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาจากการศึกษานอกระบบและหรือการศึกษา ตามอัธยาศัยให้เทียบโอนหน่วยกิตได้รวมกันไม่เกินหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดของหลักสูตรที่บอ เทียบโยน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อกําหนด ข้อบังคับ และประกาศของสภามหาวิทยาลัย
(6) นิสิตที่ได้รับการเทียบโอนประสบการณ์และความรู้ จะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ใน มหาวิทยาลัยอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษา หรือ 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยานิพนธ์ ไม่น้อย กว่า 12 หน่วยกิต หรือรายวิชาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือรายวิชาดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
(7) ให้นิสิตยื่นคําร้องขอเทียบโอนประสบการณ์และความรู้ต่อสํานักวิชาการให้เสร็จ สิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษานับจากการลงทะเบียนเรียนครั้งแรก ทั้งนี้ต้องเป็นผลการศึกษาที่ได้รับก่อนการขึ้นทะเบียน เป็นนิสิตมหาวิทยาลัย
16.4 กรณีที่ผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตซึ่งมีคุณสมบัติของผู้สมัครเข้าเป็นนิสิต ระดับบัณฑิตศึกษาตามข้อ 16.1 เข้าศึกษาระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาเดียวกันหรือในสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เทียบโอนรายวิชาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตได้ ทั้งนี้ จะต้องไม่เกิน ร้อยละ 40 ของจํานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรที่จะเข้าศึกษา
ข้อ 17 ประเภทของสภาพนิสิต มี 2 ประเภท คือ
17.1 สภาพนิสิตตามลักษณะของผู้สมัคร
17.1.1 นิสิตสามัญ ได้แก่ ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตที่ผ่านการคัดเลือกและขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตของ มหาวิทยาลัยเข้าศึกษาหลักสูตรโดหลักสูตรหนึ่ง
17.1.2 นิสิตวิสามัญ ได้แก่ ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตที่ได้รับการพิจารณาให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยมีเงื่อนไขแบบให้ทดลองศึกษา ทั้งนี้ เมื่อสิ้นภาคการศึกษาแรกจะต้องสอบได้หน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิตและ ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับ คะแนน ก็จะได้รับการเปลี่ยนแปลงประมาทเป็นนิสิตสามัญ
ในกรณีที่นิสิตวิสามัญยังมิอาจเปลี่ยนประเภทตามวรรคแรก บัณฑิตวิทยาลัยอาจจะ พิจารณาอนุญาตให้ศึกษาต่ออีก 1 ภาคการศึกษา โดยต้องมีจํานวนหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และไต้ตา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
17.2 สภาพนิสิตตามค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA)
17.2.1 นิสิตสภาพปกติ ได้แก่
(1) นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนทุกภาคการศึกษาตามที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
(2) นิสิตที่สอบได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
(3) นิสิตจากสถาบันอื่นที่ลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอน
17.2.2 นิสิตสภาพวิทยาทัณฑ์ ได้แก่ นิสิตที่สอบได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA} ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
ข้อ 18 การลงทะเบียนเรียน
18.1 การกําหนดวันและวิธีการลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อนิสิตได้ชําระเงินตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด เรียบร้อยแล้ว
18.2 นิสิตสามัญหรือสภาพปกติ ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิตและไม่เกิน 15 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษาปกติ ยกเว้นนิสิตที่จะสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในภาคการศึกษานั้นๆ ซึ่งได้รับ ความเห็นชอบจากคนนต่ให้ลงทะเบียนเรียนได้และเสนออธิการบดีเพื่อทราบต่อไป
18.3 นิสิตวิสามัญหรือสภาพวิทยาทัณฑ์ ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 6หน่วยกิต และไม่เกิน 12 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษาปกติ เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณบดีและเสนอธิการบดีเพื่อทราบต่อไป
18.4 นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนที่สถาบันอื่น และนิสิตต่างสถาบันสามารถลงทะเบียนเรียนใน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นได้ ทั้งนี้ให้ปฏิบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นเรื่องการศึกษาข้ามสถาบัน และเป็นไปตาม หลับเบนซ์ เรเทียบโอนรายวิชาหรือโอนหน่วยกิต ข้อ 16
18.5 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดเป็นพิเศษโดยไม่นับหน่วยกิตในลักษณะเป็นผู้ร่วมฟังการบรรยาย นิสิตยาจกระทําได้ แต่ทั้งนี้จํานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมดของภาคการศึกษานั้นๆ จะต้องไม่เกิน 15 หน่วยกิตสําหรับนิสิตสามัญหรือสภาพปกติ และไม่เกิน 12 หน่วยกิตสําหรับนิสิตวิสามัญหรือสภาพวิทยาทัณฑ์ ตามที่ระบุไว้ในข้อ 18.2 หรือ 18.3
18.6 การลงทะเบียนเรียนจะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและเป็นไปตามประกาศ ของมหาวิทยาลัย
18.7 การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้ชําระค่าลงทะเบียน ค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว นิสิตผู้ใดชําระค่าลงทะเบียน ค่าบํารุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ ภายหลังวันที่ มหาวิทยาลัยกําหนด จะต้องชําระค่าปรับตามประกาศมหาวิทยาลัย
กรณีที่นิสิตลงทะเบียนเรียนไม่สมบูรณ์ในภาคการศึกษาใดภายในกําหนดตามประกาศของ มหาวิทยาลัยจะไม่มีสิทธิ์เรียนในภาคการศึกษานั้น เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิการบดีเป็นกรณีไป
18.8 นิสิตที่จะสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและเหลือรายวิชาเรียนตามหลักสูตรมีจํานวนหน่วยกิต น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ตามที่กําหนดไว้ในข้อ 18.2 หรือข้อ 18.3 ให้ลงทะเบียนเรียนเท่าจําหนวนหน่วยกิตที่เหลือได้
ข้อ 19 การขอเพิ่ม ขอลด หรือขอถอนรายวิชา (ติด W)
19.1 การขอเพิ่มรายวิชา กระทําได้ภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาห์ แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน
19.2 การขอลดรายวิชา กระทําได้ภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาห์ แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน และรายวิชาที่ขอลดนี้จะไม่บันทึกในใบรายงานผลการ ศึกษา
19.3 การขอถอนรายวิชา (ติด W] กระทําได้หลังจาก 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติ และไม่ เกิน 12 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติ หรือหลังจากสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน แต่ไม่เกิน 4 สัปดาห์ นับจากวันเริ่มการเรียนของภาคการศึกษาฤดูร้อน และรายวิชาที่เพิกถอนจะบันทึก w ในรายงานผลการศึกษา
19.4 การขอเพิ่ม ขอลต หรือขอถอนรายวิชา (ติด W) นั้น จํานวนหน่วยกิตรวมหลังจากการเพิ่ม ลด หรือถอนรายวิชา (ติด W) แล้วจะต้องไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิตแต่ไม่เกิน 15 หน่วยกิตสําหรับนิสิตสามัญหรือสภาพปกติ และไม่เกิน 12 หน่วยกิตสําหรับนิสิตวิสามัญหรือสภาพวิทยาทัณฑ์ตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อ 18.2 หรือ 18.3
19.5 การขอเพิ่ม ขอลดรายวิชา จะกระทําได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา ส่วนการ ขอถอนรายวิชาจะกระทําได้ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณบดี โดยมีความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอน รายวิชานั้นประกอบการพิจารณา
19.6 ในกรณีที่จําเป็นนิสิตอาจขออนุมัติจากมหาวิทยาลัยเพื่อลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่จัดสอนใน สถาบันการศึกษาอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรองหลักสูตรนั้น รายวิชาและหลักสูตรที่ลงทะเบียนเรียนในสถาบันการศึกษาอื่นต้องสอดคล้องกับของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้เพื่อนําผล การศึกษาที่ได้รับมาเทียบโอนหน่วยกิตได้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกําหนด
ข้อ 20 การลาพักการเรียน
20.1 นิสตอาจยื่นคําร้องขออนุมัติลาพักการเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้ในกรณีต่อไปนี้
20.1.1 ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนิสิตระหว่างประเทศหรือได้รับทุนอื่นใด ซึ่งมหาวิทยาลัยเห็นสมควร สนับสนุน
20.1.2 เจ็บป่วยจนต้องพักรักษาตัวตามความเห็นของแพทย์ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เวชกรรมชั้น 1 ที่รักษาเป็นเวลานานเกินกว่าร้อยละ 20 ของเวลาเรียนทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น
20.1.3 มีเหตุจําเป็นส่วนตัวอื่นๆ ที่อธิการบดีเห็นสมควร
20.14 การลาพักการเรียน นิสิตต้องยื่นคําร้องต่อมหาวิทยาลัยโดยเร็วที่สุด เมื่อได้รับอนุมัติ แล้วต้องแจ้งให้สํานักวิชาการทราบ
20.1.5 การลาพักการเรียนให้อนุมัติได้ครั้งละไม่เกิน 1 ภาคการศึกษา ถ้านิสิตยังมีความ จําเป็นต้องขอลาพักการเรียนต่อไปอีก ให้ยื่นคําร้องขอลาพักการเรียนใหม่
20.1.6 ในกรณีที่นิสิตได้รับอนุมัติให้ลาพักการเรียนให้นับระยะเวลาที่ลาพักรวมอยู่ในระยะเวลา การศึกษาด้วย
20.1.7 ในระหว่างที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการเรียนนิสิตต้องชําระค่าบํารุง และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ตามประกาศมหาวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา เพื่อรักษาสภาพนิสิต หากนิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต ต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติตามกําหนด จะพ้นสภาพนิสิตตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อ 23.1
ข้อ 21 นิสิตต้องชําระค่าบํารุงการศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยที่กําหนด ตามประกาศมหาวิทยาลัย
ข้อ 22 การขอคืนค่าลงทะเบียนเรียนรายวิชา
22.1 รายวิชาใดที่มหาวิทยาลัยประกาศงดการเรียนการสอนทั้งภาคการศึกษา นิสิตผู้ลงทะเบียนเรียน รายวิชานั้นมีสิทธิ์ขอเงินค่าลงทะเบียนรายวิชาดังกล่าวคืนได้เต็มจํานวน
22.2 มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนเงินค่าลงทะเบียนเรียนรายวิชาไม่ว่ากรณีใดๆ
22.3 กรณีที่นิสิตขอลดรายวิชา (ไม่ติด W) นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ใหม่ได้โดยไม่ต้อง ชําระค่าลงทะเบียนเรียนใหม่ ทั้งนี้ นิสิตต้องชําระค่าธรรมเนียมตามประกาศของมหาวิทยาลัย
22.4 กรณีที่นิสิตขอถอนรายวิชา (ติด W) นิสิตที่จะลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ใหม่จะต้องชําระ ค่าลงทะเบียนเรียนใหม่และต้องชําระค่าธรรมเนียมตามประกาศของมหาวิทยาลัย
ข้อ 23 การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต
23.1 ในกรณีที่นิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติไม่ว่ากรณีใด ยกเว้นภาคการศึกษา ฤดูร้อน นิสิตต้องลงทะเบียนชําระค่าบํารุง และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ตามประกาศของมหาวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา เพื่อรักษาสภาพวิสิต หากนิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิตต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติตามกําหนด มหาวิทยาลัยจะให้พ้นสภาพนิสิต
23.2 การลงทะเบียนเพื่อรักษาสาวพนิสิตให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในสัปดาห์ที่ 4 นับจากวันเปิด ภาคการศึกษา
ข้อ 24 เวลาเรียน นิสิตที่มีสิทธิ์จะได้รับการวัดและการประเมินผลการศึกษาในรายวิชาใดๆ จะต้องมีเวลาเรียน ในรายวิชานั้นๆ ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดของรายวิชานั้น ในกรณีที่นิสิตมียมาเรียนท่าบนเที่ห้เห็น มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ได้รับการวัดและการประเมินผลการศึกษาก็ได้ ทั้งนี้ อาจารย์ ผู้สอนในรายวิชานั้นต้องเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา
ข้อ 25 ระบบการประเมินผลการศึกษา
25.1 การประเมินผลการศึกษาของแต่ละรายวิชา ให้ใช้ระบบ 4 ระดับคะแนน โดยแบ่งยกระดับ คะแนนเป็น 11 ช่วงคะแนน ดังนี้
ค่าระดับคะแนน
4.00
A ดีเลิศ (Exceptional)
3.75
ดีเยี่ยม (Excelent)
3.50
ดีมาก (Very good)
3.00
ดี (Good)
2.75 B- ดีพอใช้ (Fairly good)
2.50
ค่อนข้างดี (Fir)
2.00
พอใช้ (Satisfactory)
1.75
อ่อน (Poor)
1.50
ค่อนข้างอ่อน (Quite poor)
1.00
อ่อนมาก (Very Air)
F ตก (Faif) โดยจะกระทําได้ในกรณีดังต่อไปนี้
25.1.1 ในรายวิชาที่นิสิตเข้าสอบและหรือมีผลงานที่ประเมินได้เป็นระดับชั้น
25.1.2 เปลี่ยนจาก ก่อนเสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษาถัดไปที่นิสิตลงทะเบียน
25.1.3 เปลี่ยนจาก IP ยกเว้นรายวิชาวิทยานิพนธ์ หรือรายวิชาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้า อิสระ หรือรายวิชาดุษฎีนิพนธ์
25.2 นอกจากค่าระดับคะแนนระบบ 4 ระดับคะแนนตามข้อ 25.1 แล้ว ยังอาจประเมินผลการศึกษา รายวิชาใดโดยไม่มีค่าระดับคะแนนได้ดังนี้
เกรด ความหมาย
I ยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
S wala (Satisfactory)
0 พอใจมาก (Outstanding)
U ยังไม่พอใจ (Unsatisfactory)
E ดีเยี่ยม (Excellent)
G (Good)
P ผ่าน (Pass)
W ถอนรายวิชา (Withdrawal)
WA รายวิชาที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องลงทะเบียน (Waive)
IP การศึกษายังไม่สิ้นสุด (In Progress)
RF รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนซ้ําในรายวิชาที่ได้ F
RD รายวิชาที่เข้มงทะเบียนเวียนเน้นเนวิจัยวิชาที่ได้ D
RD+ รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนเน้นในรายวิชาที่ได้ D+
RC- รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนเน้นในรายวิชาที่ได้ C-
RC รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนเน้นในรายวิชาที่ได้ C
RC+ รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนเน้นในรายวิชาที่ได้ C+
TR รายวิชาที่ได้รับการเทียบโอน
CS รายวิชาที่ได้รับการเทียบโอนโดยการทดสอบมาตรฐาน
CE รายวิชาที่ได้รับการเทียบโอนโดยการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน
CT รายวิชาที่ได้รับการเทียบโอนโดยการประเมินการศึกษาหรือการอบรม
CP รายวิชาที่ได้รับการเทียบโอนโดยการจัดทําแฟ้มสะสมงาน
25.3 การให้เกรดที่ไม่มีค่าระดับคะแนน
25.3.1 การให้เกรด จะกระทําได้ในกรณีที่นิสิตยังทํางานที่เป็นส่วนประกอบของการศึกษาใน รายวิชานั้นยังไม่สมบูรณ์ หรือขาดสอบโดยเหตุสุดวิสัยซึ่งได้รับการอนุมัติให้สอบภายหลังได้ และอาจารย์ผู้สอน เห็นสมควรให้รอผลการศึกษาโดยความเห็นชอบของคณบดี แต่ทั้งนี้จะต้องดําเนินการเพื่อขอเปลี่ยนเกรด ให้เสร็จสิ้น ภายในภาคการศึกษาถัดไปที่นิสิตลงทะเบียนเรียน มิฉะนั้นเกรด จะเปลี่ยนเป็นเกรด F หรือ ม่ แล้วแต่กรณีโดย อัตโนมัติ
25.3.2การให้เกรด S จะกระทําได้เมื่อผลการประเมินเป็นที่พอใจในรายวิชาที่หลักสูตรกําหนด ไว้ว่ามีการประเมินผลอย่างไม่มีค่าระดับคะแนน หรือรายวิชาที่นิสิตขอลงทะเบียนเรียนเป็นพิเศษโดยไม่นับหน่วยกิต
25.3.3 การให้เกรด 0 จะกระทําได้เมื่อผลการประเมินเป็นที่พอใจมากในรายวิชาที่หลักสูตร กําหนดไว้ว่ามีการประเมินผลอย่างไม่มีค่าระดับคะแนน หรือรายวิชาที่นิสิตขอลงทะเบียนเป็นพิเศษโดยไม่นับหน่วยกิต
25.3.4 การให้เกรด U จะกระทําได้เมื่อการประเมินผลไม่เป็นที่พอใจในรายวิชาที่หลักสูตร กําหนดไว้ว่ามีการประเมินผลอย่างไม่มีค่าระดับคะแนน หรือรายวิชาที่นิสิตขอลงทะเบียนเรียนเป็นพิเศษโดยไม่นับเป็น หน่วยกิต หรือรายวิชาที่นิสิตไม่สามารถเปลี่ยนเกรด ได้ตามกําหนด
25.3.5การให้เกรด E, G, P หรือ F จะกระทําได้ในกรณีที่เป็นการประเมินผลการสอบพิเศษ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระตามข้อกําหนดของหลักสูตร
25.3.6การให้เกรด W จะกระทําได้หลังจากที่นิสิตได้รับการอนุมัติให้ถอนรายวิชาตามข้อ 19.3 หรือนิสิตลาพักการศึกษา หรือถูกสั่งพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น
25.3.7 การให้เกรด WA จะกระทําได้เมื่อหลักสูตร หรือประกาศมหาวิทยาลัย กฎระเบียบ หรือ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องสามารถให้ดําเนินการได้
25.3.8การให้เกรด IP จะกระทําเมื่อสิ้นภาคการศึกษาที่นิสิตลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่มีการ สอนและหรือการทํางานอย่างต่อเนื่องกัน ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ
25.3.9การให้เกรด R จะกระทําได้ในกรณีที่มีการลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเรียนเน้นเนื่องจากผล การเรียนในรายวิชาดังกล่าวได้เกรด F, D, D+, C- C หรือ 4 เมื่อผลการเรียนของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือ เรียนเน้นใหม่นั้นเป็นเกรด A, A-, B6, B, B, CA, C, -, D+, D หรือ F ให้เปลี่ยนผลการเรียนในรายวิชาเดิมที่อยู่ใน ภาคการศึกษานั้นๆ เป็น RF, RD, RD+, RC-, RC หรือ RC+ :
25.4 การให้เกรด F นอกเหนือจากข้อ
25.4 แล้ว จะกระทําได้ในกรณีต่อไปนี้
25.4.1 ในรายวิชาที่นิสิตไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสอบ เนื่องจากมีเวลาเรียนในรายวิชานั้นๆ น้อย กว่าร้อยละ 50 ซองเวลาเรียนทั้งหมครองรายวิชานั้นตามข้อ 24
25.4.2 เมื่อนิสิตกระทําผิดระเบียบการสอบ และได้รับการตัดสินให้ใต้เกรด F ตามข้อ 29
25.4.3 เปลี่ยนจากเกรด หรือเกรด IP
25.4.4 นิสิตที่ขาดสอบและไม่ได้ติดต่อขอสอบทดแทนภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด
25.5 การให้เกรด TR จะกระทําได้ในกรณีซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบวิชาเรียนและ โอนหน่วยกิตในข้อ 16
25.6 การให้เกรด Cs จะกระทําได้ในกรณีที่มีการเทียบโอนรายวิชาหรือกลุ่มวิชาจากความรู้และ ประสบการณ์ โดยนิสิตสามารถผ่านการทดสอบมาตรฐาน ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
25.7 การให้เกรด CE จะกระทําได้ในกรณีที่มีการเทียบโอนรายวิชาหรือกลุ่มวิชาจากความรู้และ ประสบการณ์ โดยนิสิตสามารถผ่านการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่ มหาวิทยาลัยกําหนด
25.8 การให้เกรด CT จะกระทําได้ในกรณีที่มีการเทียบโอนรายวิชาหรือกลุ่มวิชาจากความรู้และ ประสบการณ์ โดยนิสิตผ่านการฝึกอบรม ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกําหนด
25.9 การให้เกรด CP จะกระทําได้ในกรณีที่มีการเทียบโอนรายวิชาหรือกลุ่มวิชาจากความรู้และ ประสบการณ์ โดยนิสิตสามารถผ่านการประเมินด้วยแฟ้มสะสมงานของนิสิต ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่ มหาวิทยาลัยกําหนด
ข้อ 26 การประเมินผลการศึกษาและการคํานวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย
26.1 การประเมินผลการศึกษาให้กระทําเมื่อสิ้นสุดการศึกษาแต่ละภาคการศึกษา
26.2 การคํานวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยมี 2 ประเภท ซึ่งคํานวณได้ ดังนี้
1
26.2.1 ค่ระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาค (Grade-Point Average : GPA) ให้คํานวถนผลการ เรียนของนิสิตในแต่ละราาคการศึกษาโดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวนหน่วยกิตกับค่าระดับคะแนนที่นิสิตได้รับใน แต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วยผลรวมของจํานวนหน่วยกิตทั้งหมดที่ลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น
26.2.2 ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average : tGPA) ให้คํานวณ จากผลการเรียนของนิสิตตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาจนถึงภาคการศึกษาที่กําลังคํานวณ โดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวน หน่วยกิตกับค่าระดับคะแนนที่นิสิตได้รับในแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วยผลรวมของจํานวนหน่วยกิตทุก รายวิชาที่ใช้คํานวณ
26.3 การคํานวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ให้ คํานวณเป็นค่าที่มีเลบทศนิยม 2 ตําแหน่ง หากทศนิยมตําแหน่งที่ 3 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 5 ให้สามารถนํามาปัด เศษเพิ่มขึ้นเป็น 1 แล้วนับรวมกับทศนิยมตําแหน่งที่สอง แต่หากทศนิยมตําแหน่งที่ 3 มีค่าน้อยกว่า 5 ให้ตัดทคนิยม ตําแหน่งที่ 3 ออก
26.4 ในกรณีที่นิสิตได้เกรด) ในรายวิชาที่มีการวัดและประเมินผลเป็นค่าระดับคะแนน ให้รอการ คํานวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ยไว้ก่อน จนกว่าเกรด ! จะเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น
ข้อ 27 การลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเรียนเน้น
27.1 นิสิตที่ได้รับเกรด D+, D, F, 0 หรือ w ในรายวิชาบังคับ นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้น ซ้ําอีกจนกว่าจะได้รับเกรดเป็น A, A-, B6, B, C+, C, C- หรือ S
27.2 นิสิตที่ได้รับเกรด D4, D, E, 1 หรือ w ในรายวิชาเลือก นิสิตจะลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้น เจ็บหีบเสียเวียนวนวิชาเลือกอื่นแทนได้ โดยได้รับการแก้ไขระดับขั้นในรายวิชานั้นเช่นกัน
27.3 นอกจากที่กล่าวมาแล้วในข้อ 25.1 และข้อ 25.2 นิสิตอาจลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่ได้รับ C-, C ,C+ อีกครั้งก็ได้ การลงทะเบียนเรียนตามที่กล่าวนี้เรียกว่า “การเรียนเน้น”
27.4 ในการลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเรียนเน้น จะได้รับการแก้ไขเกรดในรายวิชานั้น การคํานวณ ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ให้คิดค่าระดับคะแนนที่ได้รับการแก้ไขนั้น แทนโดยคิดคํานวณหน่วยกิตเพียงครั้งเดียว
ข้อ 28 การจําแนกสภาพนิสิต
28.1 การจําแนกสภาพนิสิตจะกระทําเมื่อสิ้นภาคการศึกษาปกติ หรือเมื่อสิ้นภาคการศึกษาฤดูร้อน สุดท้ายสําหรับนิสิตที่ศึกษาครบตามหลักสูตรและมีคุณสมบัติครบถ้วนก่อนที่จะได้รับปริญญา เว้นแต่นิสิตที่เข้าศึกษา เป็นภาคการศึกษาแรก ให้จําแนกสภาพนิสิตเมื่อสิ้นปีการศึกษานับตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษา
28.2 ผลการเรียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้นําไปรวมกับผลการเรียนในภาคการศึกษาที่ 1 และ ภาคการศึกษาที่ 2 ที่นิสิตผู้นั้นได้ลงทะเบียนเรียนและมีจํานวนหน่วยกิตเพื่อคํานวณในการจําแนกสภาพนิสิต
28.3 การจําแนกสภาพนิสิตให้พิจารณาว่าเป็นนิสิตสภาพปกติหรือนิสิตสภาพวิทยาทัณฑ์ตามการ จําแนกสภาพนิสิตตามค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative (Grade-Point Average : CGPA) ในข้อ 17.2
ข้อ 29 การลงโทษนิสิตผู้กระทําความผิด
29.1 นิสิตเที่ทําการทุจริตด้วยประการใดๆ ก็ตามเกี่ยวกับการสอบทุกชนิด ให้ได้รับเกรด F ในรายวิชา ที่กระทําผิดระเบียบการสอบ ส่วนรายวิชาอื่นที่นิสิตผู้นั้นลงทะเบียนเรียนไว้ ถ้าเป็นรายวิชาที่สอบมาแล้วให้ได้ผลการ เรียนตามที่สอบได้จริง ถ้าเป็นรายวิชาที่ยังไม่ได้สอบก็ให้ดําเนินการสอบตามปกติและให้ได้ผลการเรียนตามที่สอบได้ จริง และหรือพิจารณาสั่งพักการศึกษานิสิตผู้นั้นอย่างน้อยเป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา และหรืออาจให้พ้นสภาพ นิสิตก็ได้
29.2 ถ้าโสิตกระทําผิดหรือร่วมกระทําผิดอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษา ให้คณะกรรมการประจําคณะ วิชาที่นิสิตสังกัดอยู่เป็นผู้พิจารณาลงโทษตามควรแก่กรณี โดยคณบดีของคณะวิชาที่นิสิตสังกัดอยู่เป็นผู้พิจารณา ลงโทษตามมติของคณะกรรมการประจําคณะวิชา และแจ้งมหาวิทยาลัยเพื่อดําเนินการต่อไป
29.3 การพักการศึกษาของนิสิตตามคําสั่งให้เริ่มเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาที่กระทําผิดนั้น โดยให้มี ระยะเวลาการลงโทษต่อเนื่องกัน ทั้งนี้ ให้นับระยะเวลาที่ถูกสั่งพักการศึกษาเข้าเป็นระยะเวลาการศึกษา และนิสิตที่ ถูกพักการศึกษาจะต้องชําระค่ารักษาสภาพนิสิตทุกภาคการศึกษาปกติตามระเบียบมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องกัน หากนิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิตต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติตามกําหนด จะพ้นสภาพนิสิตตาม เกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อ 23.1
ข้อ 30 การพ้นสภาพนิสิต นิสิตจะพ้นสภาพการเป็นนิสิต, ในกรณีดังต่อไปนี้
30.1 เมื่อศึกษาครบตามหลักสูตร และได้รับอนุมัติให้สําเร็จการศึกษาแล้ว
30.2 เมื่อได้รับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยให้ลาออก โดยได้ปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ อย่างครบถ้วน และ ไม่มีหนี้สินใดๆ ต่อมหาวิทยาลัย
30.3 เมื่อนิสิตสอบได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ต่ํา กว่า 200 จากระบบ 4 ระดับคะแนนในภาคการศึกษาปกติใดภาคการศึกษาหนึ่ง
30.4 เมื่อสิ้นภาคการศึกษาแรกและนิสิตมีสภาพการเป็นนิสิตเป็นสภาพวิทยาทัณฑ์สอบได้ต่ระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ต่ํากว่า 2.50 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
30.5 เมื่อสภาพการเป็นนิสิตมีสภาพวิทยาทัณฑ์แล้วมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-point Average : (SPA) ต่ํากว่า 500 จากระบบ 4 ระดับคะแนน สองภาคการศึกษาปกติที่มีการจําแนกสภาพ การเป็นนิสิตต่อเนื่องกัน
30.6 เมื่อมหาวิทยาลัยพิจารณาเห็นว่าไม่เหมาะสมที่จะเป็นนิสิตด้วยสาเหตุความประพฤติหรือการ ทุจริตในการสอบตามข้อ 29.1
30.7 ไม่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กําหนดตามหลักสูตร
30.8 คัดลอกข้อความหรืองานวิทยานิพนธ์ของผู้อื่นมาเป็นของตนหรือดัดแปลงงานของผู้อื่นโดยไม่ได้ รับอนุญาต
30.9 เมื่อมหาวิทยาลัยให้พ้นสภาพนิสิตตามข้อ 23.1 ที่กําหนดให้นิสิตพ้นสภาพเมื่อนิสิตไม่ได้ ลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิตต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติตามกําหนด
30.10 เมื่อทําผิดระเบียบอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยประกาศให้พ้นสภาพการเป็นนิสิต
30.11 เสียชีวิต
ข้อ 31 การคืนสภาพนิสิต ผู้ที่พ้นสภาพนิสิตโดยการลาออกหรือพ้นสภาพนิสิตเนื่องจากนิสิตไม่ได้ลงทะเบียน เพื่อรักษาสภาพนิสิตต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติตามกําหนด ตามข้อ 23.1 มีความประสงค์ที่จะขอกลับเข้า ศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถยื่นคําร้องต่ออธิการบดีเพื่อขอคืนสภาพนิสิตได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัยที่กําหนดไว้
ข้อ 32 การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Exaการ์nation)
32.1 นิสิตที่ศึกษาระดับปริญญาโทตามแผน ช ในข้อ 10.2 ต้องสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Exomination)
32.2 มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการจัดสอบและควบคุมการสอบให้เป็นไปตาม มาตรฐานการสอบ โดยอาจสอบด้วยข้อเขียนหรือการสยบากเปล่าในสาขาวิชานั้นๆ
32.3 มหาวิทยาลัยจะจัดให้มีการสอบประมวลความรู้ในสัปดาห์ที่ 4 ของทุกภาคการศึกษา หลักเกณฑ์การสอนให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
32.4 คุณสมบัติของนิสิตที่มีสิทธิ์สมัครสอบประมวลความรู้ มีดังต่อไปนี้
32.4.1 สอบผ่านรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือกอื่นได้ครบตามจํานวนหน่วยกิตที่หลักสูตร กําหนดไว้ และมีผลการเรียนต่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) ไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเท่า ทั้งนี้ นิสิตต้องได้เรียนรายวิชาในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่ น้อยกว่า 1 ปีการศึกษา หรือ 2 ภาคการศึกษาปกติ
32.4.2 ผ่านการตรวจสอบจากบัณฑิตวิทยาลัยว่าสมควรเข้าสอบประมวลความรู้ได้
32.5 นิสิตที่ประสงค์จะสอบประมวลความรู้ ต้องยื่นคําร้องขอสอบโดยผ่านบัณฑิตวิทยาลัยภายใน สัปดาห์ที่ 1 ของภาคการศึกษาที่ประสงค์จะสอบ
32.6 นิสิตที่สอบประมวลความรู้ไม่ผ่านมีสิทธิ์สอบใหม่อีกครั้ง แต่ทั้งนี้ นิสิตมีสิทธิ์ที่จะสอบใหม่ได้ไม่ เกิน 2 ครั้ง
32.7 เมียนิสิตได้รับอนุมัติให้เข้าสอบในภาคการศึกษาโดแล้ว หากนิสิตขาดสอบโดยไม่มีเหตุผล สมควร จะถือว่านิสิตสอบตกในการสอบประจําภาคการศึกษานั้น และให้ดําเนินการเพื่อขอสอบใหม่
ข้อ 33 การทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
33.1 นิสิตที่ศึกษาระดับปริญญาโทตามแผน ข ในข้อ 10.2 ต้องทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้า
อิสระ
33.2 นิสิตอาจยื่นแบบเสนอหัวข้อและเค้าโครงงานศึกษาเพื่อทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้า อิสระต่อบัณฑิตวิทยาลัยเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระซึ่งทาง มหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ควบคุมดูแลนิสิต
33.3 นิสิตอาจเรียบเรียงสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ทั้งนี้ อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ แต่ต้องมีบทคัดย่อของทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
ละภาษาทั้งกฤษ)
33.4 นิสิตต้องรายงานความก้าวหน้าในการทําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระอย่างน้อยภาย การศึกษาละ 2 ครั้งว่าได้มีการดําเนินการเป็นไปตามแผนและหรือมีปัญหาอุปสรรคหรือไม่ อย่างไร
33.5 ให้นิสิตนําสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระที่พิมพ์เสร็จแล้ว และได้รับความเห็นชอบจาก อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอสอบสารนิพนธ์หรือการศึกษา ค้นคว้าอิสระ โดยนิสิตที่ยื่นขอสอบสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระจะต้องสอบผ่านทุกรายวิชาตามที่กําหนดไว้ หลักสูตรแล้ว
33.6 มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยมีจํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติที่กําหนดไว้ในข้อ 11.2.4
33.7 การเสนอรายงานสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระและสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดย คณะกรรมการสอนสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นควาอิสระที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งนั้น ต้องมีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วม รับฟัง
33.8 ผลงานสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของผลงานสารนิพนธ์หรือศึกษา ค้นคว้าอิสระจะต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สามารถสืบค้นได้ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
33.9 ให้นิสิตดําเนินการส่งสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ที่ได้แก้ไขตามมติของ คณะกรรมการสอบสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ พร้อมทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และแผ่น บันทึกข้อมูลให้มหาวิทยาลัยตามจํานวนที่มหาวิทยาลัยกําหนดภายใน 4 สัปดาห์ นับจากวันสอบสารนิพนธ์หรือ การศึกษาค้นคว้าอิสระ
33.10 ผลงานสารนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระถือเป็นสิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย
ข้อ 34 การทําวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์
34.1 ระดับปริญญาโท
34.1.1 นิสิตที่ศึกษาตามแผน ก ในข้อ 10.2 ต้องทําวิทยานิพนธ์
34.1.2 นิสิตอาจยื่นแบบเสนอหัวข้อและเค้าโครงงานวิจัยเพื่อทําวิทยานิพนธ์ต่อบัณฑิตวิทยาลัย เมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ซึ่งทางมหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ควบคุมดูแลนิสิต
34.1.3 นิสิตอาจเรียบเรียงวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ทั้งนี้ อยู่ในดุลยพินิจ ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ แต่ต้องมีบทคัดย่อของวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
34.1.4 นิสิตต้องรายงานความก้าวหน้เป็นเวย์นิทยานิพนธ์อย่างน้อยมีที่วิเษโละ 2 ครั้ง ว่าได้มีการดําเนินการเป็นไปตามแผนและหรือมีปัญหาอุปสรรคหรือไม่ อย่างไร
34.1.5 ให้นิสิตนําวิทยานิพนธ์ที่พิมพ์เสร็จแล้ว และได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอสอบวิทยานิพนธ์ โดยนิสิตที่ยื่นขอสอบสารวิทยานิพนธ์จะต้องสอบผ่านทุก รายวิชาตามที่กําหนดไว้หลักสูตรแล้ว
34.1.6 มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ โดยมีจํานวน คุณวุฒิ และ คุณสมบัติที่กําหนดไว้ในข้อ 11.2.4
34.1.7 การเสนอวิทยานิพนธ์และสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งนั้น ต้องมีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมรับฟัง
34.1.8 ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
1 5
34.1.9 ให้นิสิตดําเนินการส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ที่ได้แก้ไขตามมติของคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ พร้อมทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และแผ่นบันทึกข้อมูลให้มหาวิทยาลัยตามจํานวนที่ มหาวิทยาลัยกําหนดภายใน 4 สัปดาห์ นับจากวันสอบวิทยานิพนธ์
34.1.10 ผลงานวิทยานิพนธ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย
34.2 ระดับปริญญาเอก
34.2.1 นิสิตที่ศึกษาในระดับปริญญาเอกจะต้องทําดุษฎีนิพนธ์
34.2.2 นิสิตอาจยื่นแบบเสนอหัวข้อและเค้าโครงงานวิจัยเพื่อทําคุษฎีนิพนธ์ต่อนัณฑิตวิทยาลัย เมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งมหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ควบคุมดูแลนิสิต
34.2.3 นิสิตอาจเรียบเรียงดุษฎีนิพนธ์เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ทั้งนี้ อยู่ในดุลยพินิจ ของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ แต่ต้องมีบทคัดย่อของคุษฎีนิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
34.2.4 นิสิตต้องรายงานความก้าวหน้าในการทําดุษฎีนิพนธ์อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 2 ครั้ง ว่าได้มีการดําเนินการเป็นไปตามแผนและหรือมีปัญหาอุปสรรคหรือไม่ อย่างไร
34.2.5 ให้นิสิตนําดุษฎีนิพนธ์ที่พิมพ์เสร็จแล้ว และได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา คุษฎีนิพนธ์เสนอต่ยบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอสอบดุษฎีนิพนธ์ โดยนิสิตที่ศึกษาในแบบ 1 ตามข้อ 10.3 ต้องสอบผ่านการ สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination : QE) จึงจะยื่นขอสอบสารดุษฎีนิพนธ์ได้
สําหรับนิสิตที่ศึกษาในแบบ 2 ตามข้อ 10.3 จะต้องสอบผ่านทุกรายวิชาตามที่กําหนดไว้ หลักสูตรแล้ว โดยผลการศึกษาได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Quotifying Examination : OE) จึงจะยื่นขอสอบสารดุษฎีนิพนธ์ได้
34.2.6 มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ โดยมีจํานวน คุณวุฒิ และ คุณสมบัติที่กําหนดไว้ในข้อ 11.4.4
34.2.7 การเสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ที่ มหาวิทยาลัยแต่งตั้งนั้น ต้องมีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมรับฟัง
34.2.8 ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์บเวพวัน วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่องสําหรับนิสิตที่ศึกษาในแบบ 1 ตามข้อ 10.3 และอย่างน้อย 1 เรื่องสําหรับนิสิตที่ศึกษาใน แบบ 2 ตามข้อ 10.3 (ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
34.2.9 ให้นิสิตดําเนินการส่งดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ที่ได้แก้ไขตามมติของคณะกรรมการสอบ คุษฎีนิพนธ์ พร้อมทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และแผ่นบันทึกข้อมูลให้มหาวิทยาลัยตามจํานวนที่ มหาวิทยาลัยกําหนดภายใน 4 สัปดาห์ นับจากวันสอบดุษฎีนิพนธ์
34.2.10 ผลงานดุษฎีนิพนธ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย
ข้อ 35 คุณสมบัติของผู้สําเร็จการศึกษา
35.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
35.1.1 ศึกษาในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลา ศึกษาไม่เกิน 6 ภาคการศึกษาปกติหรือ 3 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้
35.1.2 ศึกษาและสอบได้ครบตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
35.1.3 ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average: CGPA) ตลอด หลักสูตรไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
35.1.4 ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัย
35.2 หลักสูตรระดับปริญญาโท
35.2.1 ศึกษาในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลา ศึกษาไม่เกิน 10 ภาคการศึกษาปกติหรือ 5 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้
35.2.2 ศึกษาและสอนได้ครบตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
35.2.3 ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average: CGPA) ตลอด หลักสูตรไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
35.2.3 ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัย
35.2.4 นิสิตที่ศึกษาตามแผน ก ทั้งแบบ ก 1 และแบบ ก 2 ตามข้อ 10.2 เสนอวิทยานิพนธ์และ สอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งมีจํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติที่กําหนดไว้ในข้อ 11.2.4 มีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมรับฟัง ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงาน วิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนําเสนอต่อที่ประชุมวิชาการตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดย บทความที่นําเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ตั้งกล่าว
35.2.5 นิสิตที่ศึกษาตามแผน ข ตามข้อ 10.2 ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examinatiown) ด้วยข้อเขียนและหรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น เสนอสารนิพนธ์หรือรายงานการศึกษา ค้นคว้าอิสระ และสอนผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบสารนิพนธ์หรือการศึกษาเต้นคว้า อิสระที่มหาวิทยาลัยแห่งตั้ง ซึ่งมีเนน ตุผดุ และคุณสมบัติที่มาที่นติไว้ในนี้ย 11.2.4 มีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่ว! รับฟัง และสารนิพนธ์หรียรายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์หรือรายงานการศึกษาค้นคว้า อิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สามารถสืบค้นได้
35.3 หลักสูตรระดับปริญญาเอก
35.3.1 ศึกษาในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลา ศึกษาไม่เกิน 12 ภาคการศึกษาปกติหรือ 6 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้สําหรับนิสิตที่ ศึกษาในแบบ 1.1 และแบบ 2.1 และไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ หรือหนึ่งปีการศึกษา แต่ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 16 ภาคการศึกษาปกติหรือ 8 ปีการศึกษา นับตั้งแต่วันลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรนี้สําหรับนิสิตที่ศึกษาใน แบบ 1.2 และแบบ 2.2
35.3.2 ศึกษาและสอบได้ครบตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
35.3.3 ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัย
35.3.4นิสิตที่ศึกษาในแบบ 1 ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทําดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอนผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอน ดุษฎีนิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งมีจํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติที่กําหนดไว้ในข้อ 11.4.4 มีการเปิดให้ผู้สนใจเข้า ร่วมรับฟัง ผลงานคุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับ การยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 2 เรื่อง
35.3.5นิสิตที่ศึกษาในแบบ 2 ต้องได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average: CGPA) ตลอดหลักสูตรไม่ต่ํากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทําดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้น สุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบคุษฎีนิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งมีจํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติที่กําหนดไว้ใน ข้อ 11.4.4 มีการเปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมรับฟัง ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการ ตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติหรียระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาการสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ
35.3.6สอบผ่านภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษาตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัย กําหนด
ข้อ 36 การประกาศเกียรติคุณ
มหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่งเสริมการสร้างขวัญและกําลังใจแก่นิสิตด้วยการประกาศเกียรติคุณแก่ นิสิตที่มีความสามารถทางด้านวิชาการ โดยจะพิจารณาประกาศเกียรติคุณให้แก่นิสิตที่มีผลงานวิจัยดีเยี่ยมและได้รับ ผลการเรียนที่มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade-Point Average : CGPA) เท่ากับ 4.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
ข้อ 37 การอนุมัติการสําเร็จการศึกษาของนิสิต มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเสนอชื่อนิสิตเฉพาะผู้มีคุณสมบัติ ของผู้สําเร็จการศึกษาครบตามข้อ 35 โดยให้ถือเอาวันที่คณะกรรมการวิชาการ มหาวิทยาลัยพิจารณาและอนุมัติให้ สําเร็จการศึกษาเป็นวันสําเร็จการศึกษาของนิสิตผู้นั้น และมหาวิทยาลัยจะพิจารณาเสนอเพื่อขออนุมัติการให้ ปริญญาบัตรต่อสภามหาวิทยาลัยต่อไป
ข้อ 38 การเพีกตอนปริญญาบัตร
เมื่อความปรากฏแก่สภามหาวิทยาลัยว่า นิสิตผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้รับปริญญาบัตรแล้ว เป็นผู้ขาด คุณสมบัติหรือกระทําผิดที่เกี่ยวข้องกับเงื่อนไขในการเข้าศึกษา เพื่อเป็นการรักษามาตรฐานในการจัดการศึกษาและ เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการศึกษา ให้อธิการบดีโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยดําเนินการ ตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ชัดเจนในกรณีที่เกิดขึ้น และจัดทํารายงานข้อเท็จจริงเข้าสู่การพิจารณาของสภามหาวิทยาลัย โดยเร็วที่สุด หากผลการพิจารณาปรากฏชัดเจนว่า นิสิตผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้รับปริญญาบัตรแล้ว เป็นผู้ขาด คุณสมบัติหรือกระทําผิดที่เกี่ยวข้องกับเงื่อนไขในการเข้าศึกษา ให้สภามหาวิทยาลัยมีมติเพิกถอนปริญญาบัตรของ นิสิตผู้นั้น และให้ถือว่าคําวินิจฉัยของสภามหาวิทยาลัยเป็นที่สุด